พระพุทธรูปองค์ใหญ่และวัดที่สมเด็จโตสร้าง
ในปลายรัชสมัยรัชกาลที่ ๔ สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต)
พรหมรังษี ได้เข้าเฝ้าฯ เพื่อขอพระราชทานพระบรม
ราชานุญาตใช้ที่ดินในเขตอำเภอไชโย แขวงอ่างทอง
เพื่อสร้างพระพุทธรูปองค์ใหญ่หน้าตักกว้าง ๘ ว่า ๗ นิ้ว
สูง ๑๑ วา ๑ ศอก ๗ นิ้ว ก่ออิฐถือปูนประทับนั่ง ปางมารวิชัย
ถวายพระนามว่า พระมหาพุทธพิมพ์ และสร้างวัดไว้ ณ ที่นั้น
เพื่อเป็นการรำลึกถึงถิ่นกำเนิดของท่านเจ้าประคุณสมเด็จ
(โยมบิดาและโยมมารดาพบกัน)
พรหมรังษี ได้เข้าเฝ้าฯ เพื่อขอพระราชทานพระบรม
ราชานุญาตใช้ที่ดินในเขตอำเภอไชโย แขวงอ่างทอง
เพื่อสร้างพระพุทธรูปองค์ใหญ่หน้าตักกว้าง ๘ ว่า ๗ นิ้ว
สูง ๑๑ วา ๑ ศอก ๗ นิ้ว ก่ออิฐถือปูนประทับนั่ง ปางมารวิชัย
ถวายพระนามว่า พระมหาพุทธพิมพ์ และสร้างวัดไว้ ณ ที่นั้น
เพื่อเป็นการรำลึกถึงถิ่นกำเนิดของท่านเจ้าประคุณสมเด็จ
(โยมบิดาและโยมมารดาพบกัน)
โดยตั้งชื่อวัดนี้ว่า วัดเกศไชโย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
รัชกาลที่ ๔ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระบรม
ราชานุญาตประทับตราแผ่นดินและตราพระราชบัญญัติ
วิสุงคามสีมา ถวายสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต) เพื่อสร้าง
วัดเกตุไชโย อุทิศกุศลแก่โยมบิดา และสนองพระคุณ
โยมมารดาที่ทุกข์ทรมานอุ้มครรภ์และคลอด ตลอดจน
กล่อมเกลี้ยงเลี้ยงดูสั่งสอน สอนเดิน ณ ตำบลแห่งนี้
ช่วงปลายชีวิตของท่านเจ้าประคุณสมเด็จ ท่านเดินทาง
ไปหลายแห่งทั่วประเทศ และสร้างอนุสรณ์ไว้ เช่น
รัชกาลที่ ๔ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระบรม
ราชานุญาตประทับตราแผ่นดินและตราพระราชบัญญัติ
วิสุงคามสีมา ถวายสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต) เพื่อสร้าง
วัดเกตุไชโย อุทิศกุศลแก่โยมบิดา และสนองพระคุณ
โยมมารดาที่ทุกข์ทรมานอุ้มครรภ์และคลอด ตลอดจน
กล่อมเกลี้ยงเลี้ยงดูสั่งสอน สอนเดิน ณ ตำบลแห่งนี้
ช่วงปลายชีวิตของท่านเจ้าประคุณสมเด็จ ท่านเดินทาง
ไปหลายแห่งทั่วประเทศ และสร้างอนุสรณ์ไว้ เช่น
๑. พระพุทธรูปนอนใหญ่ที่วัดสะตือ ต. ท่าหลวง อ. ท่าเรือ
จ. พระนครศรีอยุธยา เป็นพระพุทธไสยาสน์ก่ออิฐถือปูน
องค์พระยาว ๑ เส้น ๖ วา สูง ๘ วา ฐานยาว ๑ เส้น ๑๐ วา
กว้าง ๔ วา ๒ ศอก สร้างเมื่อพุทธศักราช ๒๔๑๓
จ. พระนครศรีอยุธยา เป็นพระพุทธไสยาสน์ก่ออิฐถือปูน
องค์พระยาว ๑ เส้น ๖ วา สูง ๘ วา ฐานยาว ๑ เส้น ๑๐ วา
กว้าง ๔ วา ๒ ศอก สร้างเมื่อพุทธศักราช ๒๔๑๓
๒. พระพุทธรูปนั่งที่วัดพิตเพียน (วัดกุฎีทอง) จังหวัด
พระนครศรีอยุธยา เป็นพระก่ออิฐถือปูน ปางมารวิชัย
หน้าตักกว้าง ๔ วา ๓ ศอก
พระนครศรีอยุธยา เป็นพระก่ออิฐถือปูน ปางมารวิชัย
หน้าตักกว้าง ๔ วา ๓ ศอก
๓. พระพุทธรูปที่วัดกลาง ต. คลองข่อย อ.โพธาราม
จ.ราชบุรี เป็นพระพุทธรูปยืนปางอุ้มบาตร ทำด้วยอิฐถือปูน
สูง ๖ วาเศษ เล่ากันว่า สถานที่แห่งนี้เดิมเป็นป่ารกชัฏ
ท่านเจ้าประคุณสมเด็จได้เอาเงินตราเก่า ๆ มีค่าโปรย
เข้าไปในป่า ชาวบ้านย่านนั้นร่วมกันถางป่าจนราบเรียบ
เตียนโล่ง เพื่อหาเงินดังกล่าว จึงสามารถสร้างพระพุทธรูป
ยืนองค์นี้ได้ ต่อมาได้กลายเป็นสำนักสงฆ์ และเป็นวัดในที่สุด
จ.ราชบุรี เป็นพระพุทธรูปยืนปางอุ้มบาตร ทำด้วยอิฐถือปูน
สูง ๖ วาเศษ เล่ากันว่า สถานที่แห่งนี้เดิมเป็นป่ารกชัฏ
ท่านเจ้าประคุณสมเด็จได้เอาเงินตราเก่า ๆ มีค่าโปรย
เข้าไปในป่า ชาวบ้านย่านนั้นร่วมกันถางป่าจนราบเรียบ
เตียนโล่ง เพื่อหาเงินดังกล่าว จึงสามารถสร้างพระพุทธรูป
ยืนองค์นี้ได้ ต่อมาได้กลายเป็นสำนักสงฆ์ และเป็นวัดในที่สุด
๔. เจดีย์วัดละครทำ ที่แขวงบ้านช่างหล่อ เขตบางกอกน้อย
ฝั่งธนบุรี เป็นเจดีย์นอน ๒ องค์ หันฐานเข้าหากัน ห่างกัน
ประมาณ ๒ ศอก ปัจจุบันชำรุดทรุดโทรมมาก องค์ด้านใต้
ถูกรื้อทำลายไปนานแล้ว องค์ด้านเหนือก็แทบจะไม่เป็น
รูปร่างเสียแล้ว เนื่องจากถูกคนขุดค้นหากรุพระสมเด็จ
ฝั่งธนบุรี เป็นเจดีย์นอน ๒ องค์ หันฐานเข้าหากัน ห่างกัน
ประมาณ ๒ ศอก ปัจจุบันชำรุดทรุดโทรมมาก องค์ด้านใต้
ถูกรื้อทำลายไปนานแล้ว องค์ด้านเหนือก็แทบจะไม่เป็น
รูปร่างเสียแล้ว เนื่องจากถูกคนขุดค้นหากรุพระสมเด็จ
๕. รูปปั้นแทนโยมตาและโยมแม่ สร้างกุฏิ ๒ หลัง อยู่ด้าน
ทิศใต้ของวัดอินทรวิหาร ก่ออิฐถือปูน หลังคามุงกระเบื้อง
ขนาดเท่ากัน กว้าง ๑ วา ยาววาครึ่ง ปั้นรูปแทนโยมตา
เป็นรูปพระสงฆ์นั่งขัดสมาธิ หน้าตักกว้าง ๒๔ นิ้ว อยู่กุฏิ
หลังซ้าย ส่วนแทนโยมมารดาปั้นเป็นรูปภิกษุนั่งขัดสมาธิ
หน้าตักกว้าง ๒๓ นิ้ว ประดิษฐานอยู่กุฏิหลังขวา
ทิศใต้ของวัดอินทรวิหาร ก่ออิฐถือปูน หลังคามุงกระเบื้อง
ขนาดเท่ากัน กว้าง ๑ วา ยาววาครึ่ง ปั้นรูปแทนโยมตา
เป็นรูปพระสงฆ์นั่งขัดสมาธิ หน้าตักกว้าง ๒๔ นิ้ว อยู่กุฏิ
หลังซ้าย ส่วนแทนโยมมารดาปั้นเป็นรูปภิกษุนั่งขัดสมาธิ
หน้าตักกว้าง ๒๓ นิ้ว ประดิษฐานอยู่กุฏิหลังขวา
๖. หลวงพ่อโต วัดอินทรวิหาร ที่ตำบลบางขุนพรหม
กรุงเทพมหานคร เป็นพระพุทธรูปยืนอุ้มบาตร สูง ๑๖ วาเศษ
ท่านเจ้าประคุณสมเด็จสร้างได้ประมาณ ๙ วาเศษ ท่านก็ถึง
แก่มรณภาพเสียก่อน ต่อมาหลวงปู่แดงได้ก่อสร้างเพิ่มเติม
จนเสร็จสมบูรณ์
กรุงเทพมหานคร เป็นพระพุทธรูปยืนอุ้มบาตร สูง ๑๖ วาเศษ
ท่านเจ้าประคุณสมเด็จสร้างได้ประมาณ ๙ วาเศษ ท่านก็ถึง
แก่มรณภาพเสียก่อน ต่อมาหลวงปู่แดงได้ก่อสร้างเพิ่มเติม
จนเสร็จสมบูรณ์
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น